Wednesday, February 29, 2012

29 กุมภาพันธ์ ทำไมต้อง 4 ปี มีครั้ง?

วันที่ 29 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 60 ของปีอธิกสุรทิน มีการเรียกวันนี้ว่าเป็นวัน อธิกวาร (leap day) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 306 วันในปีนั้น วันนี้จะปรากฏขึ้นในทุกๆ รอบ 4 ปี เมื่อปี ค.ศ. หารด้วย 4 ลงตัว แต่กฎเกณฑ์นี้มีข้อยกเว้น 2 กรณีคือ

  1. ถ้าปี ค.ศ. นั้นหารด้วย 100 ลงตัว ให้เป็นปีปกติสุรทิน
  2. แต่ถ้า ปี ค.ศ. นั้นหารด้วย 400 ลงตัว ให้เป็นปีอธิกสุรทิน

ด้วยกฎเหล่านี้จึงทำให้ ค.ศ. 1800, 1900, 2100, 2200 เป็นปีปกติสุรทิน แต่ ค.ศ. 1600, 2000, 2400 เป็นปีอธิกสุรทิน

เหตุที่เดือนกุมภาพันธ์จึงมี 28 หรือ 29 วัน เนื่องจากโลกเมื่อหมุนรอบตัวเอง จะใช้เวลา 365.24 วัน ซึ่งเมื่อคำนวณและทดแล้วจะได้เท่ากับ 4 ปีมีครั้งหนึ่ง

Monday, February 20, 2012



เพื่อนๆ เคยสงสัยกันบ้างไหมว่า ทำไมยาคูลท์ ถึงมีแต่ขวดเล็กๆ วันนี้เรามาไขข้อสงสัยนี้กัน
ทำไมยาคูลท์ถึงมีแต่ขนาด 80 cc.

เพราะยาคูลท์เป็นผลิตภัณฑ์นมเปรี้ยวที่ได้จากการหมัก โดยเชื้อจุลินทรีย์ที่เป็นแบคทีเรียชื่อ แลคโตบาซิลลัส ที่ทำให้เกิดรสชาติเปรี้ยว เนื่องจากเกิดกรดขึ้นมาหลายชนิดระหว่างกระบวนการหมัก ซึ่งส่วนใหญ่เป็นกรดแลคติก ปัจจุบันใช้เชื้อชื่อ Lactobacillus Balgaricu ร่วมกับ Stroptococcus themophilus
ในอุตสาหกรรมผลิตนมเปรี้ยวและโยเกิร์ต


โดย ปกติธรรมชาติแล้ว จุลินทรีย์ชนิดนี้มีอยู่แล้วตามทางเดินอาหารของคนเรา และเป็นจุลินทรีย์ที่ดีมีประโยชน์ ช่วยทำให้เกิดกระบวนการย่อย และหมักในทางเดินอาหารในส่วนที่ร่างกายของคนเราไม่สามารถจะย่อยได้ จุลินทรีย์กลุ่มนี้จะคอยช่วยเหลือ แต่ถ้ามีจำนวนมากเกินไปก็อาจเป็นอันตรายต่อเราได้เช่นเดียวกัน คืออาจทำให้เกิดอาการท้องเสียได้ เพราะจุลินทรีย์ผลิตกรดขึ้นมา
ซึ่งเป็นผลทำให้ยาคูลท์ผลิตขนาดเดียว คือ 80 ซีซี ที่พอเหมาะกับปริมาณของเชื้อแลคโตบาซิลลัส โดยจะสังเกตข้างขวดที่เขียนไว้ว่า มีปริมาณเชื้อแลคโตบาซิลลัส 8.0x10 ( ยกกำลัง 9 )

Tuesday, February 7, 2012

Brie

Production
Brie may be produced from whole or semi-skimmed milk. The curd is obtained by adding rennet to raw milk and heating it to a maximum temperature of 37° C. The cheese is then cast into molds, sometimes with a traditional perforated ladle called a pelle à brie. The 20cm mold is filled with several thin layers of cheese and drained for approximately 18 hours. The cheese is then taken out of the molds, salted, inoculated with cheese mold (Penicillium candidum, Penicillium camemberti) or Brevibacterium linens, and aged in a cellar for at least four to five weeks.

If left to mature for longer, typically several months to a year, the cheese becomes stronger in flavor and taste, the pâte drier and darker, and the rind also darker and crumbly, and is called Brie Noir (Fr: black Brie). Around the Île-de-France where Brie is made, people enjoy soaking this in café au lait and eating it for breakfast.

Overripe Brie contains an unpleasant excessive amount of ammonia which is produced by the same microorganisms required for ripening